秋田公立美術大学大学院複合芸術研究科では『複合芸術会議2023——場所』と題して三つのセッションを開催します。


※English & Thai follows Japanese

開催概要
 vol.1「山懐との対話」では、登壇者それぞれが持つ農場を背景に「農」という概念と人間との関係性を対談し、農業という第一次産業の側面から芸術とは何かを考えます。生業を介し地域に根付き生きること、営利性や合理性を越え存続する価値について討論します。
 vol.2「チェンライ・アカの『場所』を超えていく芸術」では、タイ・チェンライで実施している「Zomia in the Clould」プロジェクトを紹介し、場所性を超えた「ゾミア性(Zomia-ness)」を再考しながら、現代における「アカの『統治されないための芸術』」のあり方について、対話します。
 vol.3「自然を視る」では、近年の学術・芸術的な着想の源泉として重要度を増している自然について、特に東北の具体的な場や景観を手がかりにしながら、その観察・記述・制作の方法について検討します。
 各セッションで取り扱うテーマは、美術だけではなく、政治や経済活動、自然といった様々な現代的な問題系と結びつきます。それぞれが舞台とする「場所」は、こうした問題系が複合的に絡み合う空間であり、別個に語られるべき個別性を持ちながらも、何らかの形で共鳴し反響しあう対象です。そこからどのような共通のトーンを抽出できるか、そして、同時代的な枠組みに囲われた「場所」の中で・外でどのような「生」が可能かを本企画を通して探求します。
 各セッションは、ゲストをお招きしクロストークの形式で実施します。下記のリンクより、お申し込みください。

要予約・各回無料(一部、オンライン配信・アーカイブ配信あり)
ご予約はこちら


セッション一覧
vol.1 山懐との対話
日時:12月10日(日) 14:00-17:00
登壇者:
 吉塚 公雄氏 酪農家(田野畑山地酪農)
 遠藤 隆氏 テレビ岩手ディレクター、映画監督
 司会/モデレーター:高橋 雄大(養豚農家(龍泉洞黒豚)、博士課程1年)
会場:龍泉洞わっか(027-0501 岩手県下閉伊郡岩泉町岩泉小屋敷4−8)
定員:20名(オンライン配信・アーカイブあり)

vol.2 チェンライ・アカの『場所』を超えていく芸術
日時:12/16(土)16:00-18:00(日本時間)
登壇者:
 ブスイ・アジョウ(アカ出身の現代アーティスト)
 清水 郁郎(建築人類学者、アカ家屋専門家)
 モデレーター:マヌポーン・ルアングラム(タイランド・ビエンナーレ・チェンライ2023 担当キュレーター)
司会/モデレーター:藪本 雄登(タイランド・ビエンナーレ・チェンライ2023ゾミアパビリオン担当ディレクター、博士課程2年)
※日本語−タイ語の通訳が入る予定になっています。
会場:シンガクライ・ハウス(タイ・チェンライ 「ゾミア・パビリオン」会場)(628 Singhakhai Road, Amphoe Chiang Rai, Thailand, Chiang Rai )
定員:会場20名 (オンライン配信・アーカイブあり)
主催:秋田公立美術大学
共催:タイランドビエンナーレ チェンライ 2023 実行委員会プロダクション・ゾミアアウラ現代藝術振興財団

vol.3 自然を視る
日時:1月20日(土) 16:00-17:30
登壇者:
 吉田 勝信〔吉は土に口〕(採集者・デザイナー・プリンター)
 司会/モデレーター:津田 啓仁(博士課程1年)
会場:秋田公立美術大学 G1S( 010-1632 秋田県秋田市新屋大川町12-3 )
定員:20名


主催:秋田公立美術大学
企画:秋田公立美術大学 大学院複合芸術研究科
問い合わせ先: icta_aa@akibi.ac.jp


複合芸術会議とは?
秋田公立美術大学大学院複合芸術研究科では、研究科設置初年度(2017年度)より「複合芸術会議」を毎年開催しています。「複合芸術会議」は、本研究科の研究教育の経過と成果を紹介するとともに、創造領域の最前線で活躍されている国内外のゲストを交えて複合芸術の可能性を多様な視座から検討する、公開型のイベントです。今年度は、博士課程学生の研究活動の紹介を通して、創造領域のあらたな地平を探ることに取り組みます。

複合芸術研究科とは?
本研究科では、自らの専門領域の外へと果敢に越境し、既存の事物・事象を多角的かつ深層から問い直すことを重視しています。その過程で求められることは、自身の技術や資質を磨くとともに社会へ積極的に介入していくという内的運動と外的運動の往還です。特に博士課程では、より高度な表現と理論、柔軟な発想力と体系的な思索力の複合によって、世界に変革をもたらすような新たな芸術領域を切り開いていくことを目指しています。


==========

The Trans-Local Conference on Transdisciplinary Arts 2023: Somewhere
การประชุมข้ามพื้นที่เรื่องสหวิทยาการศิลปะประจำปี 2023 : ซัมแวร์

Talk Session: “The Akha’s Art of Not Being Governed Beyond Zomia”

Production Zomia conducts “Zomia in the Cloud” project in the Thailand Biennale Chiang Rai 2023 and we invite Busui Ajaw, a contemporary artist from the Akha ethnic group exhibiting her works at the Thailand Biennale 2023. Busui and Professor Shimizu Ikuro, Akha House Researcher/Anthropologist will discuss the future of Akha tradition and art practice moderated by Manuporn Luengaram, curator of the Thailand Biennale 2023, and Yabumoto Yuto, member of Production Zomia to think about 'Zomia-ness' (Zomia-ness means the possibility of the Art of Not Being Governed) beyond locality and place, and the guest speakers discuss to consider and talk the possibility of 'Zomia-ness' in the contemporary world.

หัวข้อสนทนา: “ศิลปะของอาข่าที่ไม่ใด้อยู่ภายใต้การปกครองของโซเมีย”
โปรดัคชั่นโซเมีย ดำเนินโครงการ “โซเมีย อินเดอะคลาวด์” ณ งานไทยแลนด์เบียนนาเล่จังหวัดเชียงราย ประจำปี 2023 อีกทั้งเราได้เชิญ บู้ซือ อาจอ ศิลปินแนวร่วมสมัยจากกลุ่มชาติพันธุ์อาข่า ผู้ที่จัดแสดงผลงานของเธอในงานไทยแลนด์เบียนนาเล่ ประจำปี 2023 บู้ซือและอาจารย์ชิมิสึ อิคุโระ นักวิจัยและนักมานุษยวิทยาบ้านอาข่าจะทำการหารือเกี่ยวกับอนาคตของประเพณีและการปฏิบัติทางศิลปะของอาข่าซึ่งดำเนินงานโดย มนุพร เหลืองอร่าม ภัณฑารักษ์ของงานไทยแลนด์เบียนนาเล่ ประจำปี 2023 และ ยาบุโมโตะ ยูโตะ สมาชิกของโปรดัคชั่นโซเมีย เพื่อคิดพิจารณาเกี่ยวกับ ‘โซเมีย-เนส’ (โซเมีย-เนส หมายความถึง ความเป็นไปได้ของศิลปะแห่งการไม่ถูกปกครอง) นอกเหนือจากท้องถิ่นและสถานที่ อีกทั้งวิทยากรรับเชิญร่วมหารือเพื่อพิจารณาและพูดคุยเกี่ยวกับความเป็นไปได้ของ ‘โซเมีย-เนส’ ในโลกร่วมสมัย

• Date: 16 Dec (Sat), 2023, 14:00 - 16:00 (Thai time)
• Moderator/ moderator: Yuto Yabumoto (Director of the Zomia Pavilion, member of Production Zomia, Ph.D. course, Graduate School of Transdisciplinary Arts, Akita University of Art).
Moderator: Manuporn Luengaram (Curator, the Thailand Biennale Chiang Rai 2023).
Guest Speaker: Busui Ajaw (Exhibiting Artist, the Thailand Biennale Chiang Rai 2023).
Guest speaker: Shimizu Ikuro (Architecutual Anthropologist, Professor at Shibaura Institute of Technology).
*Japanese-Thai interpreters will be prepared.

• Organizer: Akita University of Art
Co-Organizer: Thailand Biennale Executive Committee, Production Zomia, AURA Contemporary Art Foundation

• Venue: 'Zomia Pavilion' venue. Singhakhai House
Address: 628 Singhakhai Road, Amphoe Chiang Rai, Thailand.

• Venue capacity: 20 persons

• Online and archived streaming available.
Click here to make a reservation.


• วันที่ 16 ธันวาคม (วันเสาร์) 2023 เวลา 14:00 – 16:00 (เวลาประเทศไทย)
• ผู้ดำเนินรายการ / พิธีกร: ยูโตะ ยาบุโมโตะ (ผู้อำนวยการของโซเมียพาวิลเลี่ยน สมาชิกของโปรดัคชั่นโซเมีย หลักสูตรระดับปริญญาเอก
บัณฑิตวิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยศิลปะอาคิตะ)
ผู้ดำเนินรายการ: มนุพร เหลืองอร่าม (ภัณฑารักษ์งานไทยแลนด์เบียนนาเล่จังหวัดเชียงราย ประจำปี 2023)
วิทยากรรับเชิญ: บู้ซือ อาจอ (ศิลปินในงานนิทรรศการไทยแลนด์เบียนนาเล่จังหวัดเชียงราย ประจำปี 2023)
วิทยากรรับเชิญ: ชิมิสึ อิคุโระ (นักมานุษยวิทยาสถาปัตยกรรม อาจารย์จากสถาบันเทคโนโลยีชิบาอุระ)
* ล่ามภาษาญี่ปุ่น-ไทยจะถูกเตรียมไว้ให้
• ผู้จัดงาน: มหาวิทยาลัยศิลปะอาคิตะ
ผู้จัดร่วม: คณะกรรมการบริหารงานไทยแลนด์เบียนนาเล่ โปรดัคชั่นโซเมีย มูลนิธิศิลปะร่วมสมัยออร่า
• สถานที่จัดงาน: สถานที่ ‘โซเมียพาวิลเลี่ยน’ บ้านสิงหไคล
ที่อยู่: 628 ถนนสิงหไคล อำเภอเชียงราย ประเทศไทย
• ความจุของสถานที่: 20 คน
• การถ่ายทอดแบบออนไลน์และการถ่ายทอดที่ถูกเก็บแบบถาวรสามารถดู
คลิกที่นี่เพื่อทำการจอง

<Guest speaker>
Busui Ajaw
Busui Ajaw (b. 1986, Mae Suai, Thailand) is a self-taught painter who creates works that draw from her everyday experiences as a woman in the contemporary world as well as her roots as an Akha ethnic minority. Since she began drawing at age 15, she has developed an expressive painterly language to communicate both the seen and unseen as well as the material and the psychological.
Born in a remote mountainous region of Myanmar, the artist was forced to flee as a young child with her family after a military invasion of their land. Her practice relates to her unique upbringing. The artist is an Akha, a nomadic ethnic group from the highlands of mainland Southeast Asia, and is from a family of artisans. Coming from an oral culture, the practice of image-making was initially foreign to her. She recently began to incorporate wooden sculpture into her visual language as well as working with installations. Busui exhibits widely in Chiang Rai and Bangkok. She lives and works in Chiang Rai, Thailand.


Solo Exhibitions
2023
Mother: Amamata, nca | nichido contemporary art、Tokyo, Japan
Group Exhibitions
2021
small, nca | nichido contemporary art、Tokyo, Japan
2020
Hysteria, Toot Yung Art Center, Chiang Mai, Thailand
Once upon a future, nca | nichido contemporary art, Tokyo, Japan
Once upon a future, nca | galerie nichido Taipei, Taipei, Taiwan
Every step in the right direction, Singapore Biennale, Singapore
Elevations Laos, Laos


==========

<วิทยากรรับเชิญ>

บู้ซือ อาจอ
บู้ซือ อาจอ (ข. 1986 แม่สรวย ประเทศไทย) เป็นจิตกรที่ทำการเรียนรู้ด้วยตัวเอง อีกทั้งเป็นผู้สร้างสรรค์งานที่วาดออกมาจากประสบการณ์ในชีวิตประจำวันของเธอในฐานะผู้หญิงที่อยู่ในโลกร่วมสมัย ตลอดจนรากฐานของเธอในฐานะชนกลุ่มน้อยทางชาติพันธุ์อาข่า นับตั้งแต่เธอเริ่มวาดภาพเมื่อตอนอายุ 15 เธอได้พัฒนาการแสดงออกทางภาษาของจิตกรเพื่อสื่อสารทั้งสิ่งที่มองเห็นได้และสิ่งที่ไม่สามารถมองเห็นได้ตลอดจนทางวัตถุและทางจิตวิทยา
ศิลปินเกิดในพื้นที่ภูเขาห่างไกลของเมียนมาร์ อีกทั้งยังถูกบังคับให้ต้องหลบหนีตั้งแต่ยังเป็นเด็กพร้อมกับครอบครัวของเธอจากการรุกรานของทหารในดินแดนของพวกเขา การปฏิบัติของเธอนั้นเกี่ยวพันกันกับการอบรมเลี้ยงดูที่เป็นเอกลักษณ์ของเธอเอง ตัวศิลปินเป็นชาวอาข่าซึ่งเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่เร่ร่อนลงมาจากที่ราบสูงของแผ่นดินใหญ่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อีกทั้งยังมาจากครอบครัวที่เชี่ยวชาญด้านศิลปะ จากวัฒนธรรมที่เล่ากันมาปากต่อปาก การฝึกฝนในการสร้างงานภาพในตอนแรกจึงเป็นเรื่องแปลกสำหรับเธอ เมื่อไม่นานมานี้เธอเริ่มนำงานประติมากรรมไม้มาผสมผสานกับภาษาภาพของเธอตลอดจนการทำงานแบบจัดวางด้วย บู้ซือได้ทำการจัดแสดงอย่างกว้างขวางในจังหวัดเชียงใหม่และกรุงเทพมหานคร ซึ่งตัวเธอเองนั้นอาศัยและทำงานอยู่ที่จังหวัดเชียงราย ประเทศไทย
งานนิทรรศการเดี่ยว

2023 มาเธอร์: อะมามะตะ, เอ็นซีเอ |งานศิลปะร่วมสมัยนิชิโดะ กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น
งานนิทรรศการกลุ่ม
2021 สมอล, เอ็นซีเอ |งานศิลปะร่วมสมัยนิชิโดะ กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น
2020 ฮิสทีเรีย ศูนย์ศิลปะตูดยุง จังหวัดเชียงใหม่ ประเทศไทย, วันซ์ อะพอน อะ ฟิวเจอร์, เอ็นซีเอ |งานศิลปะร่วมสมัยนิชิโดะ กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น, วันซ์ อะพอน อะ ฟิวเจอร์, เอ็นซีเอ |กาเลอรี นิชิโดะ ไทเป กรุงไทเป ประเทศไต้หวัน, เอฟวรี่ สเต็ป อิน เดอะ ไรท์ ไดเร็คชั่น สิงคโปร์เบียนนาเล่ ประเทศสิงคโปร์, เอลลิเวเชิน ลาว ประเทศลาว


Shimizu Ikuuro
Born in 1966. Professor at Shibaura Institute of Technology, Japan Office of “Sakura Project (Chiang Rai, Thailand)”. Graduated from the Department of Regional Studies, School of Cultural Studies, Graduate University for Advanced Studies. After working as a lecturer at the National Museum of Ethnology, he assumed his current position. Master’s degree in engineering and a Ph.D. From the master's program, he studied the relationship between Akha people and their houses in the mountains of Northern Thailand. His books and articles on the Akha include.

‘Houses for Spirits and Houses for People’, (co-authored) The World Dwelling, (co-author), Showado Shoten, pp. 130-131, 2005.
‘Dog Sacrifice: The Akha Living Space from the Perspective of Dog-Human Interrelationship’, Southern Culture 32: 69-88, 2005.
Ethnography of Houses and People: The Mutual Construction of the Akha and their Dwellings in the Northern Thai Mountains, Fukyosha, 2005.
‘What the Dwellings in the Dark Speak to Me: Toward Future Architecture,’ Journal of Material Culture (96): 17-31, 2016.

ชิมิสึ อิคุโระ
เขาเกิดเมื่อปี 1966 และยังเป็นอาจารย์ที่สถาบันเทคโนโลยีชิบาอุระในประเทศญี่ปุ่น อยู่ที่สำนักงาน “โครงการซากุระ (จังหวัดเชียงราย ประเทศไทย)” สำเร็จการศึกษาจากภาควิชาภูมิภาคศึกษา โรงเรียนวัฒนธรรมศึกษา มหาวิทยาลัยบัณฑิตศึกษาขั้นสูง เขาเข้ารับตำแหน่งปัจจุบันหลังจากทำงานเป็นวิทยากรที่พิพิธภัณฑ์ชาติพันธุ์วิทยาแห่งชาติ ปริญญาโทสาขาวิศวกรรมศาสตร์และปริญญาเอกจากหลักสูตรของปริญญาโท เขาได้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างชาวอาข่ากับบ้านเรือนของพวกเขาที่อยู่ในเทือกเขาทางภาคเหนือของประเทศไทย หนังสือและบทความของเขาเกี่ยวกับอาข่าได้แก่

‘เฮ้าทส์ ฟอร์ สปิริตส แอนด์ เฮ้าทส์ ฟอร์ พีเพิล’ (ร่วมเขียน), เดอะ เวิลด์ ดเวลลิง (ร่วมเขียน), โชวาโด โชเต็น หน้า 130-131, 2005, ‘ด็อก แซคริไฟซ: วิถีชีวิตของชาวอาข่าในมุมมองของความสัมพันธ์ระหว่างสุนัขและมนุษย์’, เซาเธิร์น คัลเชอร์ 32: 69-88, 2005, เอ็ธนอกราฟิ ออฟ เฮาสเซสแอนด์ พีเพิล: การก่อตั้งอาข่าและที่อยู่อาศัยร่วมกันในเทือกเขาประเทศไทยทางภาคเหนือ, ฟูเกียวฉะ, 2005
‘วอท เดอะ ดเวลลิงส อิน เดอะ ดาร์ค สปีค ทู มี: สู่สถาปัตยกรรมแห่งอนาคต’ วารสารวัฒนธรรมทางวัตถุ (96): 17-31, 2016

Manuporn Luengaram
Manuporn Luengaram is a curator, producer and researcher based in Bangkok, Thailand. She focuses her works in the areas of art, digital media and social practice in the context of Thailand and Southeast Asia. Since 1997, she has worked with non-profit art organizations in Bangkok including About Art Related Activities (AARA: About Studio/About Café), The Queen’s Gallery, Bangkok, and Jim Thompson Art Center. She was also a former manager of Arts Network Asia (ANA), a regional arts network and an enabling grant body, and a former arts program manager of British Council Thailand. She is curator of the 2023 Thailand Biennale Chiang Rai, organized by Thailand’s Ministry of Culture. In her art historical research, she is a co-editor of an anthology of Southeast Asian Contemporary Art, a Thai version, published by Thailand’s Ministry of Culture (2015); a contributing editor of The Modern in Southeast Asian Art: A Reader, published by National Gallery Singapore (2023).

มนุพร เหลืองอร่าม เป็นภัณฑารักษ์ ผู้อำนวยการสร้าง และผู้วิจัยที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย เธอมุ่งเน้นการทำงานในด้านศิลปะ สื่อดิจิทัล และแนวปฏิบัติทางสังคมในบริบทของประเทศไทยและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นับแต่ปี 1997 เธอได้ร่วมงานกับองค์กรศิลปะที่ไม่แสวงหากำไรในกรุงเทพฯ รวมไปถึงกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับศิลปะ (อาร่า: อะเบาท์ สตูดิโอ / อะเบาท์ คาเฟ่) หอศิลป์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ กรุงเทพ และหอศิลป์บ้านจิม ทอมป์สัน อีกทั้งเธอยังเป็นอดีตผู้จัดการของเครือข่ายศิลปะแห่งเอเชีย (เอเอ็นเอ) เครือข่ายศิลปะระดับภูมิภาคและหน่วยงานที่ให้การสนับสนุน และเป็นอดีตผู้จัดการโครงการศิลปะของบริติช
เคานซิล ประเทศไทย เธอเป็นภัณฑารักษ์ของงานไทยแลนด์เบียนนาเล่จังหวัดเชียงราย ประจำปี 2023 ซึ่งจัดขึ้นโดยกระทรวงวัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ในงานวิจัยประวัติศาสตร์ศิลปะของเธอนั้น เธอได้เป็นบรรณาธิการร่วมของกวีนิพนธ์ศิลปะร่วมสมัยเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ฉบับภาษาไทย จัดพิมพ์โดยกระทรวงวัฒนธรรมแห่งประเทศไทย (2015) เป็นบรรณาธิการร่วมของศิลปะสมัยใหม่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้: อะ รีดเดอร์ จัดพิมพ์โดยหอศิลป์แห่งชาติสิงคโปร์ (2023)


Yabumoto Yuto
Founder of Production Zomia, AURA Contemporary Art Foundation, Kinan Art Week, and One Asia Lawyers.
Born in 1988. Lives and works in Thailand and India. After graduating from university, he started his own law firm in Cambodia and expanded his practice throughout the Asia-Pacific region. Since then, he has lived and worked in Cambodia, Thailand, India, and other countries for more than ten years, and while developing his business, he has provided grants and collections to artists, curators, and other organizations in various regions. He formed Production Zomia, a network of artists and curators in Asia, and organized the exhibitions "Zomi: Trans Migrants on the Water: Contemporary Art from the Mekong Region" (Osaka) and "Anarcho-Animism: Life" (Miyagi). He will be in charge of the "Zomia Pavilion" at the Thailand Biennale 2023. Interested in the mythology of the Asian region, he is conducting research on hill tribe people and art in Southeast Asia in his Ph.D. course, Graduate School of Transdisciplinary Arts, Akita University of Art.

ยาบุโมโตะ ยูโตะ
ผู้ก่อตั้งโปรดัคชั่นโซเมีย, มูลนิธิศิลปะร่วมสมัยออร่า, คินัน อาร์ต วีค และวัน เอชีย ลอว์เยอร์ส
เขาเกิดในปี 1988 อาศัยและทำงานอยู่ในประเทศไทยและอินเดีย หลังจบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเขาได้ก่อตั้งสำนักงานกฎหมายของตัวเองในประเทศกัมพูชาและขยายการดำเนินงานไปทั่วภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก นับแต่นั้นมาเขาได้อาศัยและทำงานอยู่ในประเทศกัมพูชา ประเทศไทย อินเดีย และประเทศอื่น ๆ มายาวนานมากกว่าสิบปี และในขณะที่เขากำลังพัฒนาธุรกิจ เขาก็ได้มอบทุนและของสะสมให้กับศิลปิน ภัณฑารักษ์ และองค์กรอื่น ๆ ในหลากหลายภูมิภาค เขาก่อตั้งโปรดัคชั่นโซเมียซึ่งเป็นเครือข่ายของศิลปินและภัณฑารักษ์ในเอเชีย อีกทั้งได้จัดนิทรรศการ "โซมี: ผู้อพยพข้ามถิ่นบนผืนน้ำ: ศิลปะร่วมสมัยจากภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง" (โอซาก้า) “อนาธิปัตย์ – วิญญาณนิยม: ชีวิต” (มิยางิ) และเขาจะเป็นผู้ดูแล “โซเมียพาวิลเลี่ยน” ในงานไทยแลนด์เบียนนาเล่ ประจำปี 2023 ด้วยความสนใจในตำนานของภูมิภาคเอเชียนั้น เขาได้กำลังทำการวิจัยเกี่ยวกับชาวเขาและศิลปะในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในหลักสูตรระดับปริญญาเอก บัณฑิตวิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยศิลปะอาคิตะ